รายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ
โดย:
สาธิต พงศ์พิริยะวนิช
[IP: 49.229.177.xxx]
เมื่อ: 2023-04-22 08:43:56
ชื่อเรื่อง รายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือ
นักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ
ผู้รายงาน นายสาธิต พงศ์พิริยะวนิช
ปีที่ประเมิน ปีการศึกษา 2565
บทคัดย่อ
รายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปราจีนบุรี นครนายก ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินด้านบริบท (Context evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ 2) ประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ 3) ประเมินด้านกระบวนการ (Process evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ 4) ประเมินด้านผลผลิต/ผลลัพธ์ (Product evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ และประเมินผลลัพธ์ 4 ด้าน ได้แก่ 4.1 ด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) 4.2 ด้านประสิทธิผล (Effective Evaluation) 4.3 ด้านความยั่งยืน (Sustainability Evaluation) 4.4 ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ (Transport Evaluation) และ 5) การประเมินความพึงพอใจ
ที่มีต่อโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 37 คน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) นักเรียน จำนวน 233 คน และ ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 233 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินได้แก่ แบบประเมินโครงการ จำนวน 5 ฉบับ และแบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 1 ฉบับ แบบสอบถามแต่ละฉบับมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง 0.92-0.98 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินโครงการปรากฎ ดังนี้
1. ด้านบริบท พบว่าโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก
2. ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่าโดยรวมมีความสอดคล้องเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก 3. ด้านกระบวนการ พบว่าโดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับ มากที่สุด
4. ด้านผลผลิต พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด และผลลัพธ์การประเมินโครงการ ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
5. ความพึงพอใจของนักเรียน ครูผู้สอน ผู้ปกครองนักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีต่อโครงการ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
นักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ
ผู้รายงาน นายสาธิต พงศ์พิริยะวนิช
ปีที่ประเมิน ปีการศึกษา 2565
บทคัดย่อ
รายงานการประเมินโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา ปราจีนบุรี นครนายก ครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินด้านบริบท (Context evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ 2) ประเมินด้านปัจจัยนำเข้า (Input evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ 3) ประเมินด้านกระบวนการ (Process evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ 4) ประเมินด้านผลผลิต/ผลลัพธ์ (Product evaluation) ของโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ และประเมินผลลัพธ์ 4 ด้าน ได้แก่ 4.1 ด้านผลกระทบ (Impact Evaluation) 4.2 ด้านประสิทธิผล (Effective Evaluation) 4.3 ด้านความยั่งยืน (Sustainability Evaluation) 4.4 ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ (Transport Evaluation) และ 5) การประเมินความพึงพอใจ
ที่มีต่อโครงการพัฒนาระบบการดูแลช่วยเหลือนักเรียน โรงเรียนปิยชาติพัฒนา ในพระราชูปถัมภ์ฯ กลุ่มตัวอย่างได้แก่ ครูผู้สอน จำนวน 37 คน
คณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน จำนวน 13 คน ได้มาโดยวิธีการเลือกแบบเจาะจง (Purposive Sampling) นักเรียน จำนวน 233 คน และ ผู้ปกครองนักเรียน จำนวน 233 คน ได้มาโดยวิธีการสุ่มแบบแบ่งชั้นภูมิ (Stratified Random Sampling) เครื่องมือที่ใช้ในการประเมินได้แก่ แบบประเมินโครงการ จำนวน 5 ฉบับ และแบบสอบถามความพึงพอใจ จำนวน 1 ฉบับ แบบสอบถามแต่ละฉบับมีค่าความเชื่อมั่นอยู่ระหว่าง 0.92-0.98 สถิติ ที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการประเมินโครงการปรากฎ ดังนี้
1. ด้านบริบท พบว่าโดยรวมมีความเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก
2. ด้านปัจจัยนำเข้า พบว่าโดยรวมมีความสอดคล้องเหมาะสมอยู่ในระดับ มาก 3. ด้านกระบวนการ พบว่าโดยรวมมีการปฏิบัติอยู่ในระดับ มากที่สุด
4. ด้านผลผลิต พบว่าโดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด และผลลัพธ์การประเมินโครงการ ด้านผลกระทบ ด้านประสิทธิผล ด้านความยั่งยืน ด้านการถ่ายทอดส่งต่อ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
5. ความพึงพอใจของนักเรียน ครูผู้สอน ผู้ปกครองนักเรียน และคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐานที่มีต่อโครงการ โดยรวมอยู่ในระดับ มากที่สุด
- ความคิดเห็น
- Facebook Comments