การประเมินโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ของโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) โดยใช้ CIPP Model
โดย:
ปัญจมน ชุมคช
[IP: 223.24.160.xxx]
เมื่อ: 2023-03-28 19:07:47
ชื่อผลงาน การประเมินโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา
ของโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) โดยใช้ CIPP Model
ชื่อผู้วิจัย ปัญจมน ชุมคช
หน่วยงานที่สังกัด สำนักการศึกษา เทศบาลนครตรัง
ปีการศึกษา 2564
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ของโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) โดยใช้ CIPP Model มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ 2) ประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการ 3) ประเมินกระบวนการดำเนินงานโครงการ และ 4) ประเมินผลผลิตของโครงการ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ ครูและนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) จำนวน 270 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ สำหรับครู 2) แบบประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการ สำหรับครู 3) แบบประเมินกระบวนการดำเนินงานโครงการ สำหรับครู และ 4) แบบประเมินผลผลิตของโครงการ สำหรับครูและนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
2. ผลการประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
3. ผลการประเมินกระบวนการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
ของโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) โดยใช้ CIPP Model
ชื่อผู้วิจัย ปัญจมน ชุมคช
หน่วยงานที่สังกัด สำนักการศึกษา เทศบาลนครตรัง
ปีการศึกษา 2564
บทคัดย่อ
การประเมินโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา ของโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) โดยใช้ CIPP Model มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการ 2) ประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการ 3) ประเมินกระบวนการดำเนินงานโครงการ และ 4) ประเมินผลผลิตของโครงการ กลุ่มเป้าหมายในการวิจัย ได้แก่ ครูและนักเรียนโรงเรียนเทศบาล 3 (บ้านนาตาล่วง) จำนวน 270 คน เครื่องมือที่ใช้ ได้แก่ 1) แบบประเมินด้านสภาพแวดล้อมของโครงการ สำหรับครู 2) แบบประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการ สำหรับครู 3) แบบประเมินกระบวนการดำเนินงานโครงการ สำหรับครู และ 4) แบบประเมินผลผลิตของโครงการ สำหรับครูและนักเรียน สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ยและค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า
1. ผลการประเมินสภาพแวดล้อมของโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
2. ผลการประเมินปัจจัยนำเข้าของโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
3. ผลการประเมินกระบวนการดำเนินงานโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
4. ผลการประเมินผลผลิตของโครงการขับเคลื่อนหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่สถานศึกษา อยู่ในระดับมากที่สุด
- ความคิดเห็น
- Facebook Comments